บทความ

“หนี้สิน” ดูเหมือนจะเป็นเงาตามติดชีวิตประจำวันของหลาย ๆ คนในยุคปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นหนี้บัตรเครดิต หนี้สินเชื่อส่วนบุคคล หรือหนี้บ้าน หากปล่อยให้ปัญหาหนี้สินลุกลาม อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและความสุขได้อย่างมาก  “การปรับโครงสร้างหนี้” จึงเป็นทางออกที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่กำลังเผชิญกับภาระหนี้สินเกินกำลัง การปรับโครงสร้างหนี้เปรียบเสมือนการเริ่มต้นชีวิตใหม่ทางการเงิน ช่วยให้คุณสามารถจัดการหนี้สินได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลดความเครียดที่เกิดจากปัญหาหนี้ลงได้  ศรีสวัสดิ์ เงินสดทันใจ จะพาคุณไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับโครงสร้างหนี้ ตั้งแต่ความหมาย วิธีการ ข้อควรพิจารณา และคำแนะนำต่าง ๆ เพื่อให้คุณสามารถตัดสินใจได้อย่างรอบคอบว่าการปรับโครงสร้างหนี้เหมาะสมกับคุณหรือไม่ ปรับโครงสร้างหนี้คืออะไร? การปรับโครงสร้างหนี้ คือ การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำระหนี้เดิม เช่น ลดอัตราดอกเบี้ย ขยายระยะเวลาการชำระ หรือลดจำนวนเงินที่ต้องชำระต่อเดือน เพื่อให้สอดคล้องกับความสามารถในการชำระหนี้ของผู้กู้ในปัจจุบันมากขึ้น เพื่อช่วยให้ผู้กู้สามารถทยอยชำระหนี้ได้อย่างต่อเนื่อง และหลีกเลี่ยงการผิดนัดชำระหนี้ ซึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาทางกฎหมายตามมา  ทำไมต้องปรับโครงสร้างหนี้? วิธีการปรับโครงสร้างหนี้ ประเภทของการปรับโครงสร้างหนี้ ข้อควรพิจารณาก่อนตัดสินใจปรับโครงสร้างหนี้ ป้องกันปัญหาหนี้สิน ถ้าเคยปรับโครงสร้างหนี้แล้ว สามารถขอปรับซ้ำอีกได้หรือไม่? จากมาตรการแก้หนี้ยั่งยืน ตามหลักเกณฑ์การให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบและเป็นธรรม (Responsible Lending) ระบุให้ผู้บริการต้องเสนอแนวทางการให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ โดยต้องเสนอแผนให้ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง  โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67 ดังนั้นหากคุณเคยขอปรับโครงสร้างหนี้มาแล้ว 1 ครั้ง แต่ตอนนี้จ่ายไม่ไหวกลายเป็นหนี้เสีย ยังสามารถขอปรับโครงสร้างหนี้ได้อีก 1 ครั้ง  แต่หากเคยปรับโครงสร้างหนี้ทั้งก่อนและหลังเป็นหนี้เสียแล้ว ยังสามารถปรึกษาเจ้าหนี้ได้เป็นรายกรณี การปรับโครงสร้างหนี้เป็นทางออกที่ดีสำหรับผู้ที่กำลังประสบปัญหาหนี้สิน แต่ควรศึกษาข้อมูลให้ละเอียดและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญก่อนตัดสินใจ เพื่อให้ได้ข้อเสนอที่เหมาะสมกับความสามารถในการชำระหนี้ของตนเอง การวางแผนการเงินที่ดีและการมีวินัยในการชำระหนี้ จะช่วยให้คุณสามารถแก้ไขปัญหาหนี้สินและมีชีวิตที่มั่นคงขึ้น หากคุณกำลังมองหาช่องทางติดต่อให้คำปรึกษาหนี้และแก้หนี้ของสถาบันการเงิน สามารถปรึกษาที่ ศรีสวัสดิ์ เงินสดทันใจ ศ.ศาลาสีส้ม ติดต่อได้ที่ โทร 1652  หรือ LINE Official @srisawad  หมายเหตุ   อ้างอิงข้อมูลจาก: ธนาคารแห่งประเทศไทย

อ่านต่อ

“หนี้สิน” ดูเหมือนจะเป็นเงาตามติดชีวิตประจำวันของหลาย ๆ คนในยุคปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นหนี้บัตรเครดิต หนี้สินเชื่อส่วนบุคคล หรือหนี้บ้าน หากปล่อยให้ปัญหาหนี้สินลุกลาม อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและความสุขได้อย่างมาก  “การปรับโครงสร้างหนี้” จึงเป็นทางออกที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่กำลังเผชิญกับภาระหนี้สินเกินกำลัง การปรับโครงสร้างหนี้เปรียบเสมือนการเริ่มต้นชีวิตใหม่ทางการเงิน ช่วยให้คุณสามารถจัดการหนี้สินได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลดความเครียดที่เกิดจากปัญหาหนี้ลงได้  ศรีสวัสดิ์ เงินสดทันใจ จะพาคุณไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับโครงสร้างหนี้ ตั้งแต่ความหมาย วิธีการ ข้อควรพิจารณา และคำแนะนำต่าง ๆ เพื่อให้คุณสามารถตัดสินใจได้อย่างรอบคอบว่าการปรับโครงสร้างหนี้เหมาะสมกับคุณหรือไม่ ปรับโครงสร้างหนี้คืออะไร? การปรับโครงสร้างหนี้ คือ การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำระหนี้เดิม เช่น ลดอัตราดอกเบี้ย ขยายระยะเวลาการชำระ หรือลดจำนวนเงินที่ต้องชำระต่อเดือน เพื่อให้สอดคล้องกับความสามารถในการชำระหนี้ของผู้กู้ในปัจจุบันมากขึ้น เพื่อช่วยให้ผู้กู้สามารถทยอยชำระหนี้ได้อย่างต่อเนื่อง และหลีกเลี่ยงการผิดนัดชำระหนี้ ซึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาทางกฎหมายตามมา  ทำไมต้องปรับโครงสร้างหนี้? วิธีการปรับโครงสร้างหนี้ ประเภทของการปรับโครงสร้างหนี้ ข้อควรพิจารณาก่อนตัดสินใจปรับโครงสร้างหนี้ ป้องกันปัญหาหนี้สิน ถ้าเคยปรับโครงสร้างหนี้แล้ว สามารถขอปรับซ้ำอีกได้หรือไม่? จากมาตรการแก้หนี้ยั่งยืน ตามหลักเกณฑ์การให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบและเป็นธรรม (Responsible Lending) ระบุให้ผู้บริการต้องเสนอแนวทางการให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ โดยต้องเสนอแผนให้ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง  โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67 ดังนั้นหากคุณเคยขอปรับโครงสร้างหนี้มาแล้ว 1 ครั้ง แต่ตอนนี้จ่ายไม่ไหวกลายเป็นหนี้เสีย ยังสามารถขอปรับโครงสร้างหนี้ได้อีก 1 ครั้ง  แต่หากเคยปรับโครงสร้างหนี้ทั้งก่อนและหลังเป็นหนี้เสียแล้ว ยังสามารถปรึกษาเจ้าหนี้ได้เป็นรายกรณี การปรับโครงสร้างหนี้เป็นทางออกที่ดีสำหรับผู้ที่กำลังประสบปัญหาหนี้สิน แต่ควรศึกษาข้อมูลให้ละเอียดและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญก่อนตัดสินใจ เพื่อให้ได้ข้อเสนอที่เหมาะสมกับความสามารถในการชำระหนี้ของตนเอง การวางแผนการเงินที่ดีและการมีวินัยในการชำระหนี้ จะช่วยให้คุณสามารถแก้ไขปัญหาหนี้สินและมีชีวิตที่มั่นคงขึ้น หากคุณกำลังมองหาช่องทางติดต่อให้คำปรึกษาหนี้และแก้หนี้ของสถาบันการเงิน สามารถปรึกษาที่ ศรีสวัสดิ์ เงินสดทันใจ ศ.ศาลาสีส้ม ติดต่อได้ที่ โทร 1652  หรือ LINE Official @srisawad  หมายเหตุ   อ้างอิงข้อมูลจาก: ธนาคารแห่งประเทศไทย

อ่านต่อ

หากใครที่รู้สึกว่าช่วงนี้ดวงตก ทำอะไรก็ติดขัด ค้าขายก็ได้กำไรน้อยไม่มีให้เหลือเก็บ อาจถึงคราวที่ต้องหาตัวช่วยกันหน่อย ศรีสวัสดิ์ขอพาทุกคนไปรู้จักกับ 4 เคล็ดลับ ที่อาจจะทำให้กราฟชีวิตของคุณพุ่งรับปีใหม่...

อ่านต่อ

 เพราะโควิด-19 ยังไม่รู้จะจบลงเมื่อใดในขณะที่ภาระไม่มีคำว่าหยุดพัก ดังนั้น ‘การกู้สินเชื่อ’ ที่สะดวก อนุมัติไว และเชื่อถือได้ จึงกลายเป็นตัวช่วยสำคัญของใครหลายคน แต่จะให้ดีการกู้สินเชื่อนี้ต้องไม่เพิ่มภาระให้ครอบครัว ด้วยการมี...

อ่านต่อ

ช่วงเศรษฐกิจฝืดเคือง เปิดร้านก็ไม่ได้ จะค้าขายก็มีพ่อค้าแม่ค้าออนไลน์คู่แข่งเต็มไปหมด บางคนตกงาน ถูกลดเงินเดือน แต่ภาระทางการเงินยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง หากว่าใครมีปัญหานี้ ขอแนะนำให้ลองมารีไฟแนนซ์รถยนต์เพื่อลดความกังวลทางการเงิน รับปิดจากที่อื่น ผ่อนอยู่ก็ย้ายมากู้กับเราได้ รีไฟแนนซ์...

อ่านต่อ

ค่าใช้จ่ายรายเดือนหลัก ๆ ของคนมีรถที่ยังผ่อนไม่หมด คงหนีไม่พ้นค่างวดผ่อนรถที่ต้องจ่ายอยู่เป็นประจำทุกเดือน ซึ่งเมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายด้านอื่น ๆ แล้ว ถือว่าเป็นสัดส่วนที่ค่อนข้างหนักหนาไม่น้อยทีเดียว และถ้าหากผ่อนไปได้สักพัก คุณกลับรู้สึกว่า...

อ่านต่อ

เวลาเดือดร้อนเรื่องเงินและไม่สามารถหยิบยืมใครได้ ทางเลือกต่อไปที่จะช่วยบรรเทาภาระและลดความตึงเครียดในชีวิตได้บ้างก็คือ “เงินกู้” แต่อย่างที่รู้กันดีว่า การไปขอกู้เงินกับทางธนาคารหรือบริษัทสินเชื่อหลาย ๆ แห่งต้องยื่นสลิปเงินเดือนหรือหนังสือรับรองเงินเดือน และบางแห่งอาจต้องให้ญาติหรือคนรู้จักมาลงชื่อค้ำประกัน เพื่อให้มั่นใจว่าคุณจะสามารถผ่อนชำระหนี้คืนได้จริง ๆ...

อ่านต่อ

ทำ พ.ร.บ. แล้ว ไม่ต้องทำประกันรถมอเตอร์ไซค์ได้ไหม? เพราะอย่างไรก็คุ้มครองเหมือนกัน ข้อสงสัยนี้อาจทำให้หลายคนเข้าใจผิด และคิดว่าถึงแม้จะไม่ทำประกันรถมอเตอร์ไซค์ ก็จะได้รับสิทธิคุ้มครองตามกฎหมายอยู่ดี ซึ่งก็ถือว่าเป็นคำตอบที่ใช่  แต่รู้หรือไม่ว่า...

อ่านต่อ

ทุกวันนี้ไม่ว่าจะไปขอสินเชื่อบ้าน สินเชื่อส่วนบุคคล หรือสินเชื่ออะไรก็ตาม เจ้าหน้าที่มักจะแนะนำให้ทำประกันชีวิตคุ้มครองวงเงินสินเชื่อ เพื่อเป็นหลักประกันว่า หากว่าเราเสียชีวิตหรือทุพพลภาพ เงินกู้ก้อนนี้ จะไม่กลายเป็นภาระให้แก่คนรุ่นหลัง หรือเป็นหนี้เสียอย่างแน่นอน ประกันชีวิตคุ้มครองวงเงินสินเชื่อคืออะไร? ประกันชีวิตคุ้มครองวงเงินสินเชื่อ คือ...

อ่านต่อ

ว่ากันว่าคนมีหนี้คือคนมีเครดิต แต่ยุคที่อะไรอะไรก็เกิดขึ้นได้อย่างไม่คาดคิด  เครดิตที่ดีคงต้องมีความคุ้มครองวงเงินด้วย หลายคนคงไม่ทราบว่ามีประโยชน์มากมายจากการมีประกันคุ้มครองสินเชื่อ ประกันที่คนส่วนใหญ่มักจะมองข้าม แม้ว่าเบี้ยจะถูกมากและปลดภาระความกังวลใจให้คุณและคนที่คุณรักได้ “เจนสวัสดี” ขอเผยเคล็ดไม่ลับที่จะช่วยคุณ เรามาทำความรู้จักประโยชน์ดีๆ จากประกันตัวนี้กัน ภาระทางการเงิน...

อ่านต่อ

พี่น้องชาวนาชาวไร่ไม่ต้องกังวล ถ้าอยากต่อทุน มีเงินหมุนแก้ปัญหา สินเชื่อเพื่อการเกษตรนี่แหละ ทางรอด! เราเข้าใจถึงปัญหาและอุปสรรคในการทำเกษตรว่ามีอยู่มากมาย ทั้งเรื่องของดินฟ้าอากาศที่แปรปรวน ฝนไม่ตกตามฤดูกาล...

อ่านต่อ